วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2552

แผนการสอนคณิตศาสตา ป. 5 เรื่อง รูปสี่เหลี่ยม


1. มาตรฐานการเรียนรู้ / เป้าหมายการเรียนรู้
ค 3.1 ข้อ 1 จำแนกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติได้
ข้อ 2 บอกสมบัติของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ และสามารถนำไปใช้ในการ แก้ปัญหาได้
ข้อ 3 สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติและประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสามมิติได้

2. ความคิดรวบยอด (Core Concept)
2.1 สาระหลัก (นักเรียนต้องรู้อะไร)
- ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม
- การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก


2.2 ทักษะ / กระบวนการ (ปฏิบัติอะไรได้)
- จำแนกชนิดและบอกลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ
- สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากตามความยาวของด้านที่กำหนดให้

2.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- เห็นความสำคัญในการเรียนเรื่องรูปสี่เหลี่ยม
- เห็นความสำคัญและมีทักษะในการสร้างรูปสี่เหลี่ยม

3. ความเข้าใจที่คงทน (ความรู้ที่ติดตัวคงทน)
1. ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

สาระสำคัญ
1. รูปสี่เหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยมุมภายในทั้ง 4 มุม รวมกันมีขนาด 360 องศา ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นอยู่กับขนาดของมุมและขนาดของด้าน
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ต้องคำนึงถึงลักษณะของมุมที่ประกอบขึ้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม มุมทุกมุมจะต้องเป็นมุมฉาก
3. รูปสามเหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 3 ด้าน และมุม 3 มุม โดยมุมภายในทั้ง 3 มุม รวมกันมีขนาด 180 องศา ชนิดของรูปสามเหลี่ยมจะแบ่งตามลักษณะของด้านและลักษณะของมุม
4. รูปสามเหลี่ยมใดๆ เมื่อกำหนดให้ด้านหนึ่งเป็นฐาน จะได้ว่า มุมยอด เป็นมุมที่อยู่ตรงข้ามกับ ฐาน ด้านประกอบมุมยอด เป็นด้านสองด้านที่ประกอบเป็นมุมยอด และมุมที่ฐาน เป็นมุมที่มี ฐานเป็นแขนของมุม ความสูงของรูปสามเหลี่ยม เป็นความยาวของส่วนของเส้นตรงที่ลากจาก มุมยอดมาตั้งฉากกับฐาน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. เมื่อกำหนดรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ ให้ สามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสี่เหลี่ยมนั้นๆ ได้
2. เมื่อกำหนดความยาวของด้านให้ สามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
3. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมชนิดต่างๆ ให้ สามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสามเหลี่ยมนั้นๆ และบอกความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า และรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วได้
4. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ สามารถบอกฐาน มุมที่ฐาน มุมยอด และส่วนสูงได้
5. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ สามารถหาขนาดของมุมภายในได้
6. เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมให้ สามารถสร้างรูปสามเหลี่ยมได้


สาระการเรียนรู้
1. ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ชนิดของรูปสามเหลี่ยม
4. ส่วนประกอบของรูปสามเหลี่ยม
5. การหาขนาดของมุมภายในรูปสามเหลี่ยม
6. การสร้างรูปสามเหลี่ยม
กิจกรรมขั้นต้น (เวลา 1 ชั่วโมง)
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยครูวาดรูปบนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
2. ครูจัดทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) โดยการแจกข้อทดสอบให้นักเรียนทุกคน แล้วให้นักเรียนเลือกวง  รอบคำตอบที่ถูกที่สุด จากนั้นตรวจให้คะแนนโดยไม่ต้องเฉลยคำตอบ

กิจกรรมที่ 1 ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม (เวลา 1 ชั่วโมง)
จัดกระบวนการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (problem solving process)

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมว่า เป็นรูปที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยวาดรูปบนกระดานประกอบการสนทนา เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยให้นักเรียนเลือกกลุ่มเองตามความสนใจ
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเรื่องเกี่ยวกับชนิดของรูปสี่เหลี่ยม เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “รูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ เราจำแนกจากสิ่งใด” “รูปสี่เหลี่ยม มีทั้งหมดกี่ชนิด” เป็นต้น
ó วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสี่เหลี่ยมได้
ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จากภาพและข้อมูลในหนังสือ-เรียน (หน้า 83-84) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. ครูแจกบัตรภาพรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ อย่างละ 1 รูป ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันจัดประเภทตามเกณฑ์ที่ครูกำหนด ดังนี้
1) รูปที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก
2) รูปที่มีด้านขนานกันเพียง 1 คู่
3) รูปที่มีด้านขนานกัน 2 คู่
4) รูปที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
5) รูปที่มีด้านตรงข้ามยาวเท่ากัน แต่ด้านที่อยู่ติดกันยาวไม่เท่ากัน
จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มนำรูปที่มีลักษณะตามที่ครูกำหนดติดบนกระดาน และให้นักเรียนบอกชื่อรูปสี่เหลี่ยมนั้นว่าเป็นชนิดใด
ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญ เรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จนได้ข้อสรุปว่า
- รูปสี่เหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยมุมภายในทั้ง 4 มุม รวมกันมีขนาด 360 องศา ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นอยู่กับขนาดของมุมและขนาดของด้าน
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.1 ในหนังสือเรียน (หน้า 85) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม แล้วร่วมกันเฉลยบนกระดาน
3. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.1 ข้อ 1-2 ในหนังสือเรียน (หน้า 86) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมและเก็บเป็นผลงาน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ

กิจกรรมที่2 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก (เวลา 1 ชั่วโมง)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา

1. ครูสนทนากับนักเรียน เรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จากการเรียนครั้งที่แล้วเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิม โดยครูเขียนรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ บนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันพิจารณาว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเดิมในการเรียนครั้งที่แล้ว จากนั้นครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุฉาก เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีหลักในการสร้างอย่างไร” เป็นต้น
วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
ó ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จากหนังสือเรียน (หน้า 87-88) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. ครูกำหนดโจทย์ปัญหา ให้นักเรียนสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวของด้านตามที่กำหนด เช่น
สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กขคง ให้มีด้านยาว 4 เซนติเมตร ด้านกว้าง 3 เซนติเมตร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปตามโจทย์ ซึ่งจะได้ ดังนี้
1) ลากส่วนของเส้นตรง กข ยาว 4 เซนติเมตร
2) ใช้ไม้ฉากสร้างมุมฉากที่จุด ก ลากส่วนของเส้นตรง กค ยาว 3 เซนติเมตร
3) ใช้ไม้ฉากสร้างมุมฉากที่จุด ข ลากส่วนของเส้นตรง ขง ยาว 3 เซนติเมตร
4) ลากส่วนของเส้นตรง คง จะได้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กขคง ตามต้องการ
3. ครูกำหนดโจทย์ให้นักเรียนฝึกสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากในลักษณะต่างๆ อีกหลายๆ ข้อ
รวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จนได้ข้อสรุปว่า
- การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ต้องคำนึงถึงลักษณะของมุมที่ประกอบขึ้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม มุมทุกมุมจะต้องเป็นมุมฉาก
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.2 ในหนังสือเรียน (หน้า 88-89) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ
4. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.2 ในหนังสือเรียน (หน้า 90) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ

แผนการสอนคณิตศาสตา ป. 5 เรื่อง รูปสี่เหลี่ยม

แผนการสอนคณิตศาสตร์ ชั้น ป.5 เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม





แผนการสอนคณิตศาสตร์ ชั้น ป.5 เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม


สาระสำคัญ
1. รูปสี่เหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยมุมภายในทั้ง 4 มุม รวมกันมีขนาด 360 องศา ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นอยู่กับขนาดของมุมและขนาดของด้าน
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ต้องคำนึงถึงลักษณะของมุมที่ประกอบขึ้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม มุมทุกมุมจะต้องเป็นมุมฉาก
3. รูปสามเหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 3 ด้าน และมุม 3 มุม โดยมุมภายในทั้ง 3 มุม รวมกันมีขนาด 180 องศา ชนิดของรูปสามเหลี่ยมจะแบ่งตามลักษณะของด้านและลักษณะของมุม
4. รูปสามเหลี่ยมใดๆ เมื่อกำหนดให้ด้านหนึ่งเป็นฐาน จะได้ว่า มุมยอด เป็นมุมที่อยู่ตรงข้ามกับ ฐาน ด้านประกอบมุมยอด เป็นด้านสองด้านที่ประกอบเป็นมุมยอด และมุมที่ฐาน เป็นมุมที่มี ฐานเป็นแขนของมุม ความสูงของรูปสามเหลี่ยม เป็นความยาวของส่วนของเส้นตรงที่ลากจาก มุมยอดมาตั้งฉากกับฐาน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. เมื่อกำหนดรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ ให้ สามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสี่เหลี่ยมนั้นๆ ได้
2. เมื่อกำหนดความยาวของด้านให้ สามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
3. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมชนิดต่างๆ ให้ สามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสามเหลี่ยมนั้นๆ และบอกความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า และรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วได้
4. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ สามารถบอกฐาน มุมที่ฐาน มุมยอด และส่วนสูงได้
5. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ สามารถหาขนาดของมุมภายในได้
6. เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมให้ สามารถสร้างรูปสามเหลี่ยมได้


สาระการเรียนรู้
1. ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ชนิดของรูปสามเหลี่ยม
4. ส่วนประกอบของรูปสามเหลี่ยม
5. การหาขนาดของมุมภายในรูปสามเหลี่ยม
6. การสร้างรูปสามเหลี่ยม
กิจกรรมขั้นต้น (เวลา 1 ชั่วโมง)
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยครูวาดรูปบนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
2. ครูจัดทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) โดยการแจกข้อทดสอบให้นักเรียนทุกคน แล้วให้นักเรียนเลือกวง  รอบคำตอบที่ถูกที่สุด จากนั้นตรวจให้คะแนนโดยไม่ต้องเฉลยคำตอบ


กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 2 ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม (เวลา 1 ชั่วโมง)
จัดกระบวนการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (problem solving process)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมว่า เป็นรูปที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยวาดรูปบนกระดานประกอบการสนทนา เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยให้นักเรียนเลือกกลุ่มเองตามความสนใจ
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเรื่องเกี่ยวกับชนิดของรูปสี่เหลี่ยม เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “รูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ เราจำแนกจากสิ่งใด” “รูปสี่เหลี่ยม มีทั้งหมดกี่ชนิด” เป็นต้น
วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสี่เหลี่ยมได้
ó ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จากภาพและข้อมูลในหนังสือ-เรียน (หน้า 83-84) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. ครูแจกบัตรภาพรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ อย่างละ 1 รูป ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันจัดประเภทตามเกณฑ์ที่ครูกำหนด ดังนี้
1) รูปที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก
2) รูปที่มีด้านขนานกันเพียง 1 คู่
3) รูปที่มีด้านขนานกัน 2 คู่
4) รูปที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
5) รูปที่มีด้านตรงข้ามยาวเท่ากัน แต่ด้านที่อยู่ติดกันยาวไม่เท่ากัน
จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มนำรูปที่มีลักษณะตามที่ครูกำหนดติดบนกระดาน และให้นักเรียนบอกชื่อรูปสี่เหลี่ยมนั้นว่าเป็นชนิดใด
ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญ เรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จนได้ข้อสรุปว่า
- รูปสี่เหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยมุมภายในทั้ง 4 มุม รวมกันมีขนาด 360 องศา ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นอยู่กับขนาดของมุมและขนาดของด้าน
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.1 ในหนังสือเรียน (หน้า 85) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม แล้วร่วมกันเฉลยบนกระดาน
3. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.1 ข้อ 1-2 ในหนังสือเรียน (หน้า 86) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมและเก็บเป็นผลงาน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ

กิจกรรมที่ 3 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก (เวลา 1 ชั่วโมง)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูสนทนากับนักเรียน เรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จากการเรียนครั้งที่แล้วเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิม โดยครูเขียนรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ บนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันพิจารณาว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเดิมในการเรียนครั้งที่แล้ว จากนั้นครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุฉาก เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีหลักในการสร้างอย่างไร” เป็นต้น
วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
ó ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จากหนังสือเรียน (หน้า 87-88) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. ครูกำหนดโจทย์ปัญหา ให้นักเรียนสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวของด้านตามที่กำหนด เช่น
สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กขคง ให้มีด้านยาว 4 เซนติเมตร ด้านกว้าง 3 เซนติเมตร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปตามโจทย์ ซึ่งจะได้ ดังนี้
1) ลากส่วนของเส้นตรง กข ยาว 4 เซนติเมตร
2) ใช้ไม้ฉากสร้างมุมฉากที่จุด ก ลากส่วนของเส้นตรง กค ยาว 3 เซนติเมตร
3) ใช้ไม้ฉากสร้างมุมฉากที่จุด ข ลากส่วนของเส้นตรง ขง ยาว 3 เซนติเมตร
4) ลากส่วนของเส้นตรง คง จะได้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กขคง ตามต้องการ
3. ครูกำหนดโจทย์ให้นักเรียนฝึกสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากในลักษณะต่างๆ อีกหลายๆ ข้อ
ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จนได้ข้อสรุปว่า
- การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ต้องคำนึงถึงลักษณะของมุมที่ประกอบขึ้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม มุมทุกมุมจะต้องเป็นมุมฉาก
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.2 ในหนังสือเรียน (หน้า 88-89) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ
4. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.2 ในหนังสือเรียน (หน้า 90) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ
กิจกรรมที่ 4 ชนิดของรูปสามเหลี่ยม (เวลา 1 ชั่วโมง)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จากการเรียนครั้งที่แล้วเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิม
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเดิมในการเรียนครั้งที่แล้ว สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับชนิดของรูปสามเหลี่ยม เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเกี่ยวกับ ชนิดของรูปสามเหลี่ยม เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “ชนิดของรูปสามเหลี่ยม จำแนกตามสิ่งใด” “รูปสามเหลี่ยม มีกี่ชนิด” เป็นต้น
วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสามเหลี่ยมได้ถูกต้อง
ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง ชนิดของรูปสามเหลี่ยม ในหนังสือเรียน (หน้า 91-92) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกนำเสนอผลงานตามความพร้อม โดยยกตัวอย่างชนิดของรูปสามเหลี่ยม บนกระดานดำ เมื่อนำเสนอเสร็จครูจะอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
3. ครูแจกบัตรภาพรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า และรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ขนาดต่างๆ กัน กลุ่มละ 10 – 12 รูป แล้วให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ของด้านของรูปสามเหลี่ยมแต่ละรูปและร่วมกันสรุปลักษณะของรูปสามเหลี่ยมแต่ละชนิด
4. ครูทบทวนการวัดขนาดของมุม แล้ววาดรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมขนาดต่างๆ กัน ให้นักเรียนวัดหาขนาดของมุมของรูปสามเหลี่ยมนั้น และเขียนขนาดของมุมและความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมกำกับไว้ที่รูป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความยาวของด้านและขนาดของมุมของรูปสามเหลี่ยม ดังต่อไปนี้
1) รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า จะมีความยาวทุกด้านยาวเท่ากัน มุมทั้งสามมุม มีขนาด 60 องศา
2) รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว จะมีความยาวเท่ากันสองด้าน และมุมมีขนาดเท่ากันสองมุม
3) รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า ไม่มีด้านใดยาวเท่ากัน มุมทั้งสามมีขนาดไม่เท่ากัน
6. ครูให้นักเรียนจำแนกรูปสามเหลี่ยมตามลักษณะของมุม โดยครูนำรูปสามเหลี่ยมชนิดต่างๆ มาให้นักเรียนจัดกลุ่ม จากนั้น ครูแนะนำว่า การแบ่งชนิดของรูปสามเหลี่ยมตามลักษณะของมุม แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมแหลม และรูปสามเหลี่ยมมุมป้าน
ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญเรื่อง ชนิดของรูปสามเหลี่ยม จนได้ข้อสรุปว่า
- รูปสามเหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 3 ด้าน และมุม 3 มุม โดยมุมภายในทั้ง 3 มุม รวมกันมีขนาด 180 องศา ชนิดของรูปสามเหลี่ยมจะแบ่งตามลักษณะของด้านและลักษณะของมุม
- ชนิดของรูปสามเหลี่ยม แบ่งตามลักษณะของด้าน ได้แก่ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้งสามยาวเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเท่ากันสองด้าน และรูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้งสามด้านยาวไม่เท่ากัน
- ชนิดของรูปสามเหลี่ยม แบ่งตามขนาดของมุม ได้แก่ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมแหลม เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีทั้งสามมุมเป็นมุมแหลม และรูปสามเหลี่ยมมุมป้าน เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.3 ในหนังสือเรียน (หน้า 93) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม และร่วมกันเฉลยบนกระดาน
3. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.3 ข้อ 1, 2 ในหนังสือเรียน (หน้า 94) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมและเก็บเป็นผลงาน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ

แผนการสอนเรื่องรูปสี่เหลี่ยม ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5



แผนการสอน เรื่องรูปสี่เหลี่ยม ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5


สาระสำคัญ
1. รูปสี่เหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยมุมภายในทั้ง 4 มุม รวมกันมีขนาด 360 องศา ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นอยู่กับขนาดของมุมและขนาดของด้าน
2. การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ต้องคำนึงถึงลักษณะของมุมที่ประกอบขึ้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม มุมทุกมุมจะต้องเป็นมุมฉาก
3. รูปสามเหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 3 ด้าน และมุม 3 มุม โดยมุมภายในทั้ง 3 มุม รวมกันมีขนาด 180 องศา ชนิดของรูปสามเหลี่ยมจะแบ่งตามลักษณะของด้านและลักษณะของมุม
4. รูปสามเหลี่ยมใดๆ เมื่อกำหนดให้ด้านหนึ่งเป็นฐาน จะได้ว่า มุมยอด เป็นมุมที่อยู่ตรงข้ามกับ ฐาน ด้านประกอบมุมยอด เป็นด้านสองด้านที่ประกอบเป็นมุมยอด และมุมที่ฐาน เป็นมุมที่มี ฐานเป็นแขนของมุม ความสูงของรูปสามเหลี่ยม เป็นความยาวของส่วนของเส้นตรงที่ลากจาก มุมยอดมาตั้งฉากกับฐาน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. เมื่อกำหนดรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ ให้ สามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสี่เหลี่ยมนั้นๆ ได้
2. เมื่อกำหนดความยาวของด้านให้ สามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
3. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมชนิดต่างๆ ให้ สามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสามเหลี่ยมนั้นๆ และบอกความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า และรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วได้
4. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ สามารถบอกฐาน มุมที่ฐาน มุมยอด และส่วนสูงได้
5. เมื่อกำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ สามารถหาขนาดของมุมภายในได้
6. เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมให้ สามารถสร้างรูปสามเหลี่ยมได้

กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมที่ 1 ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม (เวลา 1 ชั่วโมง)
จัดกระบวนการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (problem solving process)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมว่า เป็นรูปที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยวาดรูปบนกระดานประกอบการสนทนา เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยให้นักเรียนเลือกกลุ่มเองตามความสนใจ
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเรื่องเกี่ยวกับชนิดของรูปสี่เหลี่ยม เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “รูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ เราจำแนกจากสิ่งใด” “รูปสี่เหลี่ยม มีทั้งหมดกี่ชนิด” เป็นต้น
างแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสี่เหลี่ยมได้
ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จากภาพและข้อมูลในหนังสือ-เรียน (หน้า 83-84) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. ครูแจกบัตรภาพรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ อย่างละ 1 รูป ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันจัดประเภทตามเกณฑ์ที่ครูกำหนด ดังนี้
1) รูปที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก
2) รูปที่มีด้านขนานกันเพียง 1 คู่
3) รูปที่มีด้านขนานกัน 2 คู่
4) รูปที่มีด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
5) รูปที่มีด้านตรงข้ามยาวเท่ากัน แต่ด้านที่อยู่ติดกันยาวไม่เท่ากัน
จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มนำรูปที่มีลักษณะตามที่ครูกำหนดติดบนกระดาน และให้นักเรียนบอกชื่อรูปสี่เหลี่ยมนั้นว่าเป็นชนิดใด


ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญ เรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จนได้ข้อสรุปว่า
- รูปสี่เหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 4 ด้าน และมุม 4 มุม โดยมุมภายในทั้ง 4 มุม รวมกันมีขนาด 360 องศา ชนิดของรูปสี่เหลี่ยมขึ้นอยู่กับขนาดของมุมและขนาดของด้าน
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.1 ในหนังสือเรียน (หน้า 85) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม แล้วร่วมกันเฉลยบนกระดาน
3. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.1 ข้อ 1-2 ในหนังสือเรียน (หน้า 86) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมและเก็บเป็นผลงาน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ

กิจกรรมที่ 2 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก (เวลา 1 ชั่วโมง)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูสนทนากับนักเรียน เรื่อง ชนิดของรูปสี่เหลี่ยม จากการเรียนครั้งที่แล้วเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิม โดยครูเขียนรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ บนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันพิจารณาว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเดิมในการเรียนครั้งที่แล้ว จากนั้นครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุฉาก เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีหลักในการสร้างอย่างไร” เป็นต้น
วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้
ó ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จากหนังสือเรียน (หน้า 87-88) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. ครูกำหนดโจทย์ปัญหา ให้นักเรียนสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวของด้านตามที่กำหนด เช่น
สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กขคง ให้มีด้านยาว 4 เซนติเมตร ด้านกว้าง 3 เซนติเมตร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปตามโจทย์ ซึ่งจะได้ ดังนี้
1) ลากส่วนของเส้นตรง กข ยาว 4 เซนติเมตร
2) ใช้ไม้ฉากสร้างมุมฉากที่จุด ก ลากส่วนของเส้นตรง กค ยาว 3 เซนติเมตร
3) ใช้ไม้ฉากสร้างมุมฉากที่จุด ข ลากส่วนของเส้นตรง ขง ยาว 3 เซนติเมตร
4) ลากส่วนของเส้นตรง คง จะได้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กขคง ตามต้องการ
3. ครูกำหนดโจทย์ให้นักเรียนฝึกสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากในลักษณะต่างๆ อีกหลายๆ ข้อ
ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จนได้ข้อสรุปว่า
- การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ต้องคำนึงถึงลักษณะของมุมที่ประกอบขึ้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม มุมทุกมุมจะต้องเป็นมุมฉาก
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.2 ในหนังสือเรียน (หน้า 88-89) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ
4. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.2 ในหนังสือเรียน (หน้า 90) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
5. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ
กิจกรรมที่ 3 ชนิดของรูปสามเหลี่ยม (เวลา 1 ชั่วโมง)
ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
1. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่อง การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จากการเรียนครั้งที่แล้วเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิม
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเดิมในการเรียนครั้งที่แล้ว สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับชนิดของรูปสามเหลี่ยม เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
3. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งประเด็นปัญหาเกี่ยวกับ ชนิดของรูปสามเหลี่ยม เพื่อศึกษา
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปรวมเป็นประเด็นปัญหา เช่น “ชนิดของรูปสามเหลี่ยม จำแนกตามสิ่งใด” “รูปสามเหลี่ยม มีกี่ชนิด” เป็นต้น
วางแผนแก้ปัญหา
1. ครูแนะนำให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนหาวิธีแก้ปัญหา
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษากันและวางแผนฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และสามารถบอกลักษณะและจำแนกชนิดของรูปสามเหลี่ยมได้ถูกต้อง
ó ดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลเรื่อง ชนิดของรูปสามเหลี่ยม ในหนังสือเรียน (หน้า 91-92) แล้วสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และสรุปเป็นองค์ความรู้
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกนำเสนอผลงานตามความพร้อม โดยยกตัวอย่างชนิดของรูปสามเหลี่ยม บนกระดานดำ เมื่อนำเสนอเสร็จครูจะอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
3. ครูแจกบัตรภาพรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า และรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ขนาดต่างๆ กัน กลุ่มละ 10 – 12 รูป แล้วให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ของด้านของรูปสามเหลี่ยมแต่ละรูปและร่วมกันสรุปลักษณะของรูปสามเหลี่ยมแต่ละชนิด
4. ครูทบทวนการวัดขนาดของมุม แล้ววาดรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมขนาดต่างๆ กัน ให้นักเรียนวัดหาขนาดของมุมของรูปสามเหลี่ยมนั้น และเขียนขนาดของมุมและความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมกำกับไว้ที่รูป
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความยาวของด้านและขนาดของมุมของรูปสามเหลี่ยม ดังต่อไปนี้
1) รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า จะมีความยาวทุกด้านยาวเท่ากัน มุมทั้งสามมุม มีขนาด 60 องศา
2) รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว จะมีความยาวเท่ากันสองด้าน และมุมมีขนาดเท่ากันสองมุม
3) รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า ไม่มีด้านใดยาวเท่ากัน มุมทั้งสามมีขนาดไม่เท่ากัน
6. ครูให้นักเรียนจำแนกรูปสามเหลี่ยมตามลักษณะของมุม โดยครูนำรูปสามเหลี่ยมชนิดต่างๆ มาให้นักเรียนจัดกลุ่ม จากนั้น ครูแนะนำว่า การแบ่งชนิดของรูปสามเหลี่ยมตามลักษณะของมุม แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมแหลม และรูปสามเหลี่ยมมุมป้าน
ตรวจสอบการแก้ปัญหา
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสาระสำคัญเรื่อง ชนิดของรูปสามเหลี่ยม จนได้ข้อสรุปว่า
- รูปสามเหลี่ยม เป็นรูปปิดที่มีด้าน 3 ด้าน และมุม 3 มุม โดยมุมภายในทั้ง 3 มุม รวมกันมีขนาด 180 องศา ชนิดของรูปสามเหลี่ยมจะแบ่งตามลักษณะของด้านและลักษณะของมุม
- ชนิดของรูปสามเหลี่ยม แบ่งตามลักษณะของด้าน ได้แก่ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้งสามยาวเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเท่ากันสองด้าน และรูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้งสามด้านยาวไม่เท่ากัน
- ชนิดของรูปสามเหลี่ยม แบ่งตามขนาดของมุม ได้แก่ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมแหลม เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีทั้งสามมุมเป็นมุมแหลม และรูปสามเหลี่ยมมุมป้าน เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุมมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน
2. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมฝึกทักษะ 4.3 ในหนังสือเรียน (หน้า 93) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม และร่วมกันเฉลยบนกระดาน
3. ครูอธิบายวิธีการปฏิบัติกิจกรรมประเมิน 4.3 ข้อ 1, 2 ในหนังสือเรียน (หน้า 94) เสร็จแล้วให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมและเก็บเป็นผลงาน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยบนกระดาน โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มเขียนเฉลยกลุ่มละ 1 ข้อ นักเรียนในกลุ่มแต่ละกลุ่มสลับกันตรวจ


ทดสอบหลังเรียน (Post-test)
ครูจัดทดสอบหลังจากเรียนจบหน่วยนี้ โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบที่ 4 (หน้า 105) เพื่อให้นักเรียนประเมินตนเองว่า มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นหรือไม่
เสร็จแล้วร่วมกันเฉลยคำตอบแบบทดสอบโดยครูคอยอธิบายเพิ่มเติมในคำตอบที่นักเรียนยังไม่เข้าใจ
ครูเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและทดสอบหลังเรียนของเด็กเป็นรายบุคคลและประมวลผล

หมายเหตุ : เมื่อเรียนจบครูแจกบันทึกผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทุกคนบันทึกผลการเรียนรู้ แล้วส่งข้อมูลคืนครู เพื่อใช้เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งในการประเมินผล

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้ มมฐ. คณิตศาสตร์ ป. 5










แผนการสอน

แผนการสอนครูโบว์ค่ะ

ครูโบว์ เผยแพร่แผนการสอนค่ะ

เศษส่วนที่มองเห็นได้
Fraction Made Visual

ช่วงชั้น: ช่วงชั้นที่ 2
สาระการเรียนรู้: คณิตศาสตร์
หัวข้อ: เศษส่วน
สาระสำคัญ: เศษส่วน เทคนิคการวิจัย การแก้ปัญหา
เวลาโดยประมาณ: 20 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที รวมเวลาสำหรับนักเรียนรายบุคคลและกลุ่มย่อยในการทำงานคอมพิวเตอร์

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ / Unit Summary
นักเรียนจะเรียนรู้ความสำคัญของความแม่นยำทางคณิตศาสตร์และ สวมบทบาทในอาชีพที่ใช้เศษส่วนในหน้าที่การงาน หลังการทำวิจัย นักเรียนจะจัดทำและแลกเปลี่ยนงานนำเสนอด้วยมัลติมีเดียหรือจดหมายข่าวซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการรู้เศษส่วนในอาชีพที่เลือก

คำถามเพื่อกำหนดกรอบการเรียนรู้ / Curriculum Framing Questions
คำถามสร้างพลังคิด / Essential Questions
ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริงหรือ
คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ / Unit Questions
เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วน
จะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนเพื่อทำให้งานสำเร็จใช่หรือไม่
ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไรเศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วน
จะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนเพื่อทำให้งานสำเร็จใช่หรือไม่
ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร





คำถามประจำบทเรียน / Content Questions
เศษส่วนคืออะไร
เราบวก ลบ คูณและหารเศษส่วนได้อย่างไร
ความแตกต่างระหว่างเศษและส่วนคืออะไร
เราเปลี่ยนตัวเลขจำนวนคละเป็นเศษส่วนที่เศษมากกว่าหรือเท่ากับส่วน (improper fraction) ได้อย่างไร
กระบวนการประเมินนักเรียน / Assessment Processes
ศึกษาว่าการประเมินที่หลากหลายซึ่งเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางนำมาใช้ในแผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินเหล่านี้ช่วยนักเรียนและครูกำหนดเป้าหมาย กำกับติดตามความก้าวหน้า แสดงความคิดเห็นย้อนกลับ ประเมินกระบวนการคิด การปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้งสะท้อนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตลอดวงจรแห่งการเรียนรู้

ขั้นตอนการสอน / Instructional Procedures
แนะนำหน่วยการเรียนรู้
เริ่มหน่วยการเรียนรู้โดยใช้คำถามประจำหน่วย เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วนกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถาม และบันทึกความคิดของตนเองไว้ในบันทึกทางคณิตศาสตร์ (DOC 48KB) ระหว่างสัปดาห์แรกของหน่วยการเรียนรู้ ให้แนะนำเศษส่วนโดยใช้งานนำเสนอของครูเรื่องเศษส่วนพื้นฐาน (PPT 119KB) เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจเศษส่วนในลักษณะที่เป็นรูปธรรม ให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ตรงที่หลากหลายในการใช้เศษส่วนในชีวิตจริง ให้ตกแต่งคุกกี้ตามเศษส่วน แบ่งคุกกี้กระดาษในกลุ่มเพื่อน ศึกษาเรื่องเศษส่วนในชีวิตประจำวัน และจัดทำแม่แบบเศษส่วนของตนเอง หลังจากทำแต่ละกิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนถ่ายภาพชิ้นของเศษส่วนไว้ให้ห้องสมุด
ดิจิทัลของห้องเรียน ใช้ในโครงงานภายหลัง จดบันทึกการสอนขณะที่นักเรียนฝึกทักษะการบันทึกเป็นเอกสาร ซึ่งอาจต้องทบทวนก่อนทำหน่วยการเรียนรู้นี้ต่อแจกรูบริกโครงงาน (DOC 44.5KB) และอภิปรายข้อกำหนดของหน่วยการเรียนรู้ แจ้งให้นักเรียนทราบว่าเราจะใช้รูบริกนี้เพื่อประเมินการทำงานและความเข้าใจในเรื่องแนวคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เรียนรู้ตลอดหน่วยการเรียนรู้นี้

การจัดทำและจัดพิมพ์จดหมายข่าว
สัปดาห์ที่สอง ให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงมากขึ้นเกี่ยวกับเศษส่วน ตอนท้ายของสัปดาห์ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย และให้แต่ละกลุ่มเขียนสรุปกิจกรรมหนึ่งอย่างเพื่อที่จะจัดพิมพ์ในจดหมายข่าวของห้องเรียน (DOC 579KB)แจกเกณฑ์การให้คะแนนจดหมายข่าว (DOC 50.5KB) เพื่อใช้เป็นแนวสำหรับกระบวนการ ให้นักเรียนจัดประชุมระหว่างครูและเพื่อนร่วมงานเพื่อรับฟังความเห็นเกี่ยวกับงานเขียน สอนวิธีการทำหัวเรื่องบทความ การนำไปวางในงานเขียน และใส่กราฟิกหรือภาพถ่ายลงในแม่แบบจดหมายข่าวของห้องเรียนโดยใช้ซอร์ฟแวร์สิ่งพิมพ์ สั่งพิมพ์จดหมายข่าวและจัดส่งไปตามบ้านของนักเรียน

การนำเสนอภาพรวมของโครงงาน
เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจความสำคัญของเศษส่วนและความถี่ของการใช้เศษส่วนในชีวิต นักเรียนเรียนรู้ว่าอาชีพต่าง ๆ ใช้เศษส่วนในงานได้อย่างไร
ใช้คำถามประจำหน่วย จะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และเศษส่วนจำเป็นต่อการทำให้งานสำเร็จลุล่วงด้วยใช่หรือไม่ และความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไรให้นักเรียนเขียนคำถามลงในบันทึกทางคณิตศาสตร์ (DOC 48KB) รวบรวมบันทึกเป็นระยะ ๆ ตลอดหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และปรับการสอนสำหรับรายบุคคลหรือทั้งห้องเรียนหากจำเป็น แจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะค้นพบคำตอบของคำถามเหล่านี้ได้ และคำถามประจำหน่วยที่นำเสนอก่อนหน้านี้โดยสวมบทบาทเป็นคนในสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่ต้องใช้เศษส่วน ภาระหน้าที่คือค้นหาว่าเศษส่วนสำคัญอย่างไรต่ออาชีพ และความสามารถในการใช้เศษส่วนส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานอย่างไร ท้ายที่สุด นักเรียนจะต้องแก้ปัญหาเศษส่วนในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้น ๆ ในด้านใดด้านหนึ่ง และสรุปว่าจะนำมาใช้ในชีวิตของเราได้อย่างไร
มอบหมายหรือให้นักเรียนเลือกอาชีพที่ต้องใช้เศษส่วนเป็นประจำในการทำงาน หลังจากที่นักเรียนแต่ละคนเลือกได้อาชีพที่ต้องการแล้ว แจกรายการตรวจสอบนักเรียน (DOC 38KB) และอภิปรายข้อกำหนดของโครงงาน ต้องแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจภาระงานที่มอบหมายให้

การทำวิจัยและรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ก่อนที่เราจะให้นักเรียนทำวิจัยอาชีพที่เลือกแล้ว ให้อภิปรายหาวิธีที่ดีที่สุดที่จะรวบรวมข้อมูลตามหัวข้อที่ต้องการ ให้ระดมสมองหารายการวิธีที่จะรวบรวมข้อมูลและเทคนิคในการค้นหาคำตอบ ถ้าเทคนิคการทำวิจัยที่สำคัญ เช่น การสัมภาษณ์ ไม่อยู่ในรายการ ให้แนะนำเพิ่มเติมด้วย หลังจากที่ทำรายการเสร็จแล้ว อภิปรายแต่ละเทคนิค ชี้ให้เห็นว่าการครอบคลุมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่หลากหลายและการใช้เทคนิคการวิจัยที่แตกต่าง เพิ่มความเชื่อถือและความสนใจต่อโครงงานวิจัยได้อย่างไร
จัดเตรียมรายชื่อเว็บไซต์ที่ใช้สำหรับวิจัยอาชีพที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งแม่แบบทางอิเล็คทรอนิคส์หรือใบงานและบันทึกข้อมูล ใบงานช่วยนักเรียนในการจัดเรียบเรียงงานนำเสนอที่จะจัดทำต่อไป นอกจากนี้ สาธิตเทคนิคการสัมภาษณ์และอภิปรายความสำคัญของการรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาอาชีพนั้น ๆ ช่วยกันคิดคำถามสำหรับสัมภาษณ์ที่อาจจะสำคัญเพื่อซักถามผู้เชี่ยวชาญซึ่งสามารถช่วยกำหนดเกณฑ์ของโครงงานและตอบคำถามประจำหน่วย อภิปรายว่าสามารถใช้อีเมล์เป็นเครื่องมือที่จะสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญ เตือนนักเรียนเกี่ยวกับมารยาทและกฎที่ควรปฏิบัติตามเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตและอีเมล์ แม้แต่เวลาที่ทำวิจัย เผื่อเวลาสองสามวันให้นักเรียนทำวิจัยและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ
จัดทำข้อสรุปและการเชื่อมโยงบนพื้นฐานการวิจัย
หลังจากที่นักเรียนมีเวลามากพอที่จะรวบรวมและจัดเรียบเรียงข้อมูลว่านำเศษส่วนมาใช้ในแต่ละอาชีพได้อย่างไร ให้นักเรียนเริ่มคิดถึงการประยุกต์ใช้เศษส่วนของตนเอง ในปัจจุบันและอนาคต เตือนนักเรียนว่าในงานนำเสนอควรตอบคำถามประจำหน่วยต่อไปนี้

เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่ หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วน
นำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนในการทำให้งานสำเร็จใช่หรือไม่
ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร
ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริงหรือ ชี้แนะและช่วยนักเรียนเท่าที่จำเป็นเพื่อสร้างความเชื่อมโยงและทำข้อสรุป จัดการประชุมนักเรียนตลอดกระบวนการวิจัยและโครงงานเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทำงานถูกต้อง ตอบคำถามและได้รับความเห็นที่มีคุณค่า
หลังจากที่นักเรียนเชื่อมโยงระหว่างอาชีพที่ได้รับมอบหมายและของตนเองแล้ว ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาปัญหาเศษส่วนในโลกที่เป็นจริงที่สะท้อนการเชื่อมโยง บอกให้นักเรียนทราบว่าต้องระบุปัญหาที่เกิดจริงในโลกและแสดงขั้นตอนทีละขั้น ถึงวิธีแก้ปัญหา ขณะที่นักเรียนแต่ละคนอธิบายกระบวนการที่ใช้ในแก้ปัญหา นักเรียนควรระบุและครอบคลุมคำตอบสำหรับคำถามประจำบทต่อไปนี้ด้วย

เศษส่วนคืออะไร
เราบวก ลบ คูณและหารเศษส่วนได้อย่างไร
ความแตกต่างระหว่างเศษ และส่วนคืออะไร
เราเปลี่ยนเศษส่วนจำนวนคละเป็นเศษเกินได้อย่างไร
แนะนำและช่วยนักเรียนเท่าที่จำเป็น ขณะที่แก้ปัญหาและทำข้อสรุป

การจัดทำงานนำเสนอ
หลังจากที่นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัยและใช้กับปัญหาเศษส่วนในโลกแห่งความเป็นจริงที่เกี่ยวข้อง ให้แบบฟอร์มผังเค้าโครงเนื้อหาและสอนวิธีเริ่มกระบวนการจัดทำงานนำเสนอด้วยมัลติมีเดีย (PPT 242KB) ขั้นแรก ให้นักเรียนวางแผนงานนำเสนอด้วยการทำผังเค้าโครงให้เสร็จสมบูรณ์ แต่ละผังเค้าโครงเนื้อหาควรครอบคลุมหัวเรื่องสไลด์และรายการหัวข้อย่อยของประเด็นสำคัญ เมื่อจัดทำผังเค้าโครงเนื้อหาเสร็จสมบูรณ์ ให้นัดพบกับนักเรียนเป็นรายบุคคลเพื่อพูดคุยเรื่องงานนำเสนอและแนะนำสิ่งที่ต้องแก้ไข หลังจากที่ผังเค้าโครงเนื้อหาผ่านการเห็นชอบแล้ว ให้นักเรียนเริ่มทำสไลด์ ชี้แนะแนวทางและช่วยนักเรียนหากจำเป็นขณะที่จัดทำงานนำเสนอ

การนำเสนองานด้วยปากเปล่า
หลังจากที่นักเรียนทำงานนำเสนอเสร็จสมบูรณ์แล้ว ให้จับคู่นักเรียน แต่ละคู่ให้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการนำเสนองานด้วยปากเปล่า โดยสลับกันเป็นผู้สัมภาษณ์ และอีกคนหนึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ ให้เวลาหนึ่งหรือสองชั่วโมงในการคิดคำถามสำหรับสัมภาษณ์ และฝึกการนำเสนอ ผู้สัมภาษณ์ (ผู้ช่วยนักเรียน) ถามคำถาม และผู้เชี่ยวชาญ (คนนำเสนอ) โต้ตอบกับคำถามโดยใช้สไลด์เพื่อสนับสนุนประเด็นการพูดคุย จัดสรรเวลาให้นักเรียนนำเสนอโครงงาน อำนวยความสะดวกการอภิปรายภายหลังแต่ละการนำเสนอ อ้างอิงคำถามสร้างพลังคิดอีกครั้ง และให้นักเรียนใช้ข้อมูลที่เพิ่งนำเสนอเพื่อช่วยตอบคำถามต่อไปนี้

ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริงหรือ
เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่ หรือเราจะดีขึ้นถ้าไม่มีเศษส่วน
จะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนเพื่อให้งานสำเร็จใช่หรือไม่
ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร
บันทึกการโต้ตอบของนักเรียนลงในแผนภูมิ
หลังการนำเสนอทั้งหมด ให้ย้อนกลับไปที่แผนภูมิที่ทำเสร็จแล้ว และทำข้อสรุปเรื่องความสำคัญของเศษส่วน

การจัดทำ wiki (ทางเลือก)
ตลอดหน่วยการเรียนรู้ ให้นักเรียนแก้คำปริศนาประจำวันโดยใช้ชุดเศษส่วน (หรืออื่น ๆ ที่เหมาะสม) ถ้ามีเวลาเพียงพอ ให้นักเรียนคิดปริศนาด้วยตนเองให้เพื่อนแก้คำปริศนา แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย และให้คิดคำปริศนา หลังจากที่แต่ละกลุ่มคิดได้แล้ว ให้จัดทำ wiki ที่มีคำปริศนา แบบฟอร์มการโต้ตอบสำหรับผู้ชมสามารถส่งคำตอบ และท้ายสุดพร้อมคำเฉลยที่อธิบายแนวทางแก้ไขคำปริศนา อนุญาตให้นักเรียนนำคำปริศนาบน wikiไปจัดพิมพ์ และรับฟังความเห็นจากเพื่อนร่วมห้อง พ่อแม่ เพื่อนทางอีเล็คทรอนิคส์ (ePALS) และอื่น ๆ ขยายขอบเขตการเรียนรู้ให้ไกลกว่าห้องเรียน


สรุป
เปิดการอภิปรายเกี่ยวกับคำถามสร้างพลังคิด ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริง ๆ หรือ ให้นักเรียนจับคู่ร่วมคิด (Pair and Share) เพื่อพูดคุยหาคำตอบและความเห็นต่อคำถามสร้างพลังคิดโดยใช้ตัวอย่างจากงานวิจัยและโครงงาน ทำการสลับคู่และให้เวลานักเรียนแลกแลกเปลี่ยนกับเพื่อนคนอื่น ๆ จดบันทึกการสอนขณะที่มีการอภิปราย ทำเป็นลายลักษณ์อักษรความเข้าใจในแนวคิดรวบยอดที่เรียนของนักเรียนตลอดหน่วยการเรียนรู้ ให้นักเรียนบันทึกข้อคิดเห็นและความเห็นลงในบันทึกทางคณิตศาสตร์ (DOC 48KB) ของตนเอง

ทักษะพื้นฐานเดิมของนักเรียน / Prerequisite Skills

ประสบการณ์ในการนำเสนอด้วยอิเล็คทรอนิคส์และซอร์ฟแวร์สิ่งพิมพ์
ประสบการณ์การใช้เว็บเบราว์ซิ่ง
คุ้นเคยกับเศษส่วน
ความรู้พื้นฐานเรื่องหลักการการบวก การลบ การคูณ และการหาร
การดัดแปลงตามสภาพความต้องการที่แตกต่างกันของผู้เรียน / Differentiated Instruction
นักเรียนที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ
เตรียมแม่แบบเพิ่มเติม และสื่อสนับสนุนการเรียน
นักเรียนที่มีความสามารถเป็นพิเศษ

ให้นักเรียนจัดทำบอร์ดเกมที่สอดคล้องกับคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์และการแก้ปัญหา
ให้นักเรียนจัดทำแบบทดสอบหรือแบบทดสอบย่อยที่เกี่ยวข้องกับเศษส่วนสำหรับห้องเรียน
ผู้เขียนหน่วยการเรียนรู้ / Credits
เดวิด แฟรงเคิล (David Frankle) เข้าร่วมอบรมในโครงการ Intel® Teach

แผนการสอนครูกุสุมา แสงมาศ

เศษส่วนที่มองเห็นได้Fraction Made Visual

-->

เหลียวมอง
ช่วงชั้น: ช่วงชั้นที่ 2สาระการเรียนรู้: คณิตศาสตร์หัวข้อ: เศษส่วนสาระสำคัญ: เศษส่วน เทคนิคการวิจัย การแก้ปัญหาเวลาโดยประมาณ: 20 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที รวมเวลาสำหรับนักเรียนรายบุคคลและกลุ่มย่อยในการทำงานคอมพิวเตอร์Learn more ›-->


สิ่งที่จำเป็นต้อง
มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร แผนการประเมิน แหล่งความรู้ ดาวน์โหลดหน่วยการเรียนรู้ฉบับเต็ม (ZIP 547KB)Learn more ›-->

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ / Unit Summaryนักเรียนจะเรียนรู้ความสำคัญของความแม่นยำทางคณิตศาสตร์และ สวมบทบาทในอาชีพที่ใช้เศษส่วนในหน้าที่การงาน หลังการทำวิจัย นักเรียนจะจัดทำและแลกเปลี่ยนงานนำเสนอด้วยมัลติมีเดียหรือจดหมายข่าวซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการรู้เศษส่วนในอาชีพที่เลือก
คำถามเพื่อกำหนดกรอบการเรียนรู้ / Curriculum Framing Questions
คำถามสร้างพลังคิด / Essential Questions ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริงหรือ
คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ / Unit Questions เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วนจะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนเพื่อทำให้งานสำเร็จใช่หรือไม่ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไรเศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วนจะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนเพื่อทำให้งานสำเร็จใช่หรือไม่ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร
คำถามประจำบทเรียน / Content Questions เศษส่วนคืออะไรเราบวก ลบ คูณและหารเศษส่วนได้อย่างไรความแตกต่างระหว่างเศษและส่วนคืออะไรเราเปลี่ยนตัวเลขจำนวนคละเป็นเศษส่วนที่เศษมากกว่าหรือเท่ากับส่วน (improper fraction) ได้อย่างไร
กระบวนการประเมินนักเรียน / Assessment Processesศึกษาว่าการประเมินที่หลากหลายซึ่งเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางนำมาใช้ในแผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินเหล่านี้ช่วยนักเรียนและครูกำหนดเป้าหมาย กำกับติดตามความก้าวหน้า แสดงความคิดเห็นย้อนกลับ ประเมินกระบวนการคิด การปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้งสะท้อนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตลอดวงจรแห่งการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอน / Instructional Proceduresแนะนำหน่วยการเรียนรู้เริ่มหน่วยการเรียนรู้โดยใช้คำถามประจำหน่วย เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วนกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถาม และบันทึกความคิดของตนเองไว้ในบันทึกทางคณิตศาสตร์ (DOC 48KB) ระหว่างสัปดาห์แรกของหน่วยการเรียนรู้ ให้แนะนำเศษส่วนโดยใช้งานนำเสนอของครูเรื่องเศษส่วนพื้นฐาน (PPT 119KB) เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจเศษส่วนในลักษณะที่เป็นรูปธรรม ให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ตรงที่หลากหลายในการใช้เศษส่วนในชีวิตจริง ให้ตกแต่งคุกกี้ตามเศษส่วน แบ่งคุกกี้กระดาษในกลุ่มเพื่อน ศึกษาเรื่องเศษส่วนในชีวิตประจำวัน และจัดทำแม่แบบเศษส่วนของตนเอง หลังจากทำแต่ละกิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนถ่ายภาพชิ้นของเศษส่วนไว้ให้ห้องสมุดดิจิทัลของห้องเรียน ใช้ในโครงงานภายหลัง จดบันทึกการสอนขณะที่นักเรียนฝึกทักษะการบันทึกเป็นเอกสาร ซึ่งอาจต้องทบทวนก่อนทำหน่วยการเรียนรู้นี้ต่อแจกรูบริกโครงงาน (DOC 44.5KB) และอภิปรายข้อกำหนดของหน่วยการเรียนรู้ แจ้งให้นักเรียนทราบว่าเราจะใช้รูบริกนี้เพื่อประเมินการทำงานและความเข้าใจในเรื่องแนวคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เรียนรู้ตลอดหน่วยการเรียนรู้นี้การจัดทำและจัดพิมพ์จดหมายข่าวสัปดาห์ที่สอง ให้นักเรียนมีประสบการณ์ตรงมากขึ้นเกี่ยวกับเศษส่วน ตอนท้ายของสัปดาห์ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย และให้แต่ละกลุ่มเขียนสรุปกิจกรรมหนึ่งอย่างเพื่อที่จะจัดพิมพ์ในจดหมายข่าวของห้องเรียน (DOC 579KB)แจกเกณฑ์การให้คะแนนจดหมายข่าว (DOC 50.5KB) เพื่อใช้เป็นแนวสำหรับกระบวนการ ให้นักเรียนจัดประชุมระหว่างครูและเพื่อนร่วมงานเพื่อรับฟังความเห็นเกี่ยวกับงานเขียน สอนวิธีการทำหัวเรื่องบทความ การนำไปวางในงานเขียน และใส่กราฟิกหรือภาพถ่ายลงในแม่แบบจดหมายข่าวของห้องเรียนโดยใช้ซอร์ฟแวร์สิ่งพิมพ์ สั่งพิมพ์จดหมายข่าวและจัดส่งไปตามบ้านของนักเรียนการนำเสนอภาพรวมของโครงงานเพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจความสำคัญของเศษส่วนและความถี่ของการใช้เศษส่วนในชีวิต นักเรียนเรียนรู้ว่าอาชีพต่าง ๆ ใช้เศษส่วนในงานได้อย่างไรใช้คำถามประจำหน่วย จะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และเศษส่วนจำเป็นต่อการทำให้งานสำเร็จลุล่วงด้วยใช่หรือไม่ และความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไรให้นักเรียนเขียนคำถามลงในบันทึกทางคณิตศาสตร์ (DOC 48KB) รวบรวมบันทึกเป็นระยะ ๆ ตลอดหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน และปรับการสอนสำหรับรายบุคคลหรือทั้งห้องเรียนหากจำเป็น แจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะค้นพบคำตอบของคำถามเหล่านี้ได้ และคำถามประจำหน่วยที่นำเสนอก่อนหน้านี้โดยสวมบทบาทเป็นคนในสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่ต้องใช้เศษส่วน ภาระหน้าที่คือค้นหาว่าเศษส่วนสำคัญอย่างไรต่ออาชีพ และความสามารถในการใช้เศษส่วนส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานอย่างไร ท้ายที่สุด นักเรียนจะต้องแก้ปัญหาเศษส่วนในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้น ๆ ในด้านใดด้านหนึ่ง และสรุปว่าจะนำมาใช้ในชีวิตของเราได้อย่างไรมอบหมายหรือให้นักเรียนเลือกอาชีพที่ต้องใช้เศษส่วนเป็นประจำในการทำงาน หลังจากที่นักเรียนแต่ละคนเลือกได้อาชีพที่ต้องการแล้ว แจกรายการตรวจสอบนักเรียน (DOC 38KB) และอภิปรายข้อกำหนดของโครงงาน ต้องแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจภาระงานที่มอบหมายให้
การทำวิจัยและรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย ก่อนที่เราจะให้นักเรียนทำวิจัยอาชีพที่เลือกแล้ว ให้อภิปรายหาวิธีที่ดีที่สุดที่จะรวบรวมข้อมูลตามหัวข้อที่ต้องการ ให้ระดมสมองหารายการวิธีที่จะรวบรวมข้อมูลและเทคนิคในการค้นหาคำตอบ ถ้าเทคนิคการทำวิจัยที่สำคัญ เช่น การสัมภาษณ์ ไม่อยู่ในรายการ ให้แนะนำเพิ่มเติมด้วย หลังจากที่ทำรายการเสร็จแล้ว อภิปรายแต่ละเทคนิค ชี้ให้เห็นว่าการครอบคลุมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่หลากหลายและการใช้เทคนิคการวิจัยที่แตกต่าง เพิ่มความเชื่อถือและความสนใจต่อโครงงานวิจัยได้อย่างไรจัดเตรียมรายชื่อเว็บไซต์ที่ใช้สำหรับวิจัยอาชีพที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งแม่แบบทางอิเล็คทรอนิคส์หรือใบงานและบันทึกข้อมูล ใบงานช่วยนักเรียนในการจัดเรียบเรียงงานนำเสนอที่จะจัดทำต่อไป นอกจากนี้ สาธิตเทคนิคการสัมภาษณ์และอภิปรายความสำคัญของการรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาอาชีพนั้น ๆ ช่วยกันคิดคำถามสำหรับสัมภาษณ์ที่อาจจะสำคัญเพื่อซักถามผู้เชี่ยวชาญซึ่งสามารถช่วยกำหนดเกณฑ์ของโครงงานและตอบคำถามประจำหน่วย อภิปรายว่าสามารถใช้อีเมล์เป็นเครื่องมือที่จะสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญ เตือนนักเรียนเกี่ยวกับมารยาทและกฎที่ควรปฏิบัติตามเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตและอีเมล์ แม้แต่เวลาที่ทำวิจัย เผื่อเวลาสองสามวันให้นักเรียนทำวิจัยและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จัดทำข้อสรุปและการเชื่อมโยงบนพื้นฐานการวิจัยหลังจากที่นักเรียนมีเวลามากพอที่จะรวบรวมและจัดเรียบเรียงข้อมูลว่านำเศษส่วนมาใช้ในแต่ละอาชีพได้อย่างไร ให้นักเรียนเริ่มคิดถึงการประยุกต์ใช้เศษส่วนของตนเอง ในปัจจุบันและอนาคต เตือนนักเรียนว่าในงานนำเสนอควรตอบคำถามประจำหน่วยต่อไปนี้
เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่ หรือเราจะดีกว่านี้ถ้าไม่มีเศษส่วน
นำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนในการทำให้งานสำเร็จใช่หรือไม่
ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร
ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริงหรือ ชี้แนะและช่วยนักเรียนเท่าที่จำเป็นเพื่อสร้างความเชื่อมโยงและทำข้อสรุป จัดการประชุมนักเรียนตลอดกระบวนการวิจัยและโครงงานเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทำงานถูกต้อง ตอบคำถามและได้รับความเห็นที่มีคุณค่าหลังจากที่นักเรียนเชื่อมโยงระหว่างอาชีพที่ได้รับมอบหมายและของตนเองแล้ว ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาปัญหาเศษส่วนในโลกที่เป็นจริงที่สะท้อนการเชื่อมโยง บอกให้นักเรียนทราบว่าต้องระบุปัญหาที่เกิดจริงในโลกและแสดงขั้นตอนทีละขั้น ถึงวิธีแก้ปัญหา ขณะที่นักเรียนแต่ละคนอธิบายกระบวนการที่ใช้ในแก้ปัญหา นักเรียนควรระบุและครอบคลุมคำตอบสำหรับคำถามประจำบทต่อไปนี้ด้วย
เศษส่วนคืออะไร
เราบวก ลบ คูณและหารเศษส่วนได้อย่างไร
ความแตกต่างระหว่างเศษ และส่วนคืออะไร
เราเปลี่ยนเศษส่วนจำนวนคละเป็นเศษเกินได้อย่างไร
แนะนำและช่วยนักเรียนเท่าที่จำเป็น ขณะที่แก้ปัญหาและทำข้อสรุปการจัดทำงานนำเสนอหลังจากที่นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัยและใช้กับปัญหาเศษส่วนในโลกแห่งความเป็นจริงที่เกี่ยวข้อง ให้แบบฟอร์มผังเค้าโครงเนื้อหาและสอนวิธีเริ่มกระบวนการจัดทำงานนำเสนอด้วยมัลติมีเดีย (PPT 242KB) ขั้นแรก ให้นักเรียนวางแผนงานนำเสนอด้วยการทำผังเค้าโครงให้เสร็จสมบูรณ์ แต่ละผังเค้าโครงเนื้อหาควรครอบคลุมหัวเรื่องสไลด์และรายการหัวข้อย่อยของประเด็นสำคัญ เมื่อจัดทำผังเค้าโครงเนื้อหาเสร็จสมบูรณ์ ให้นัดพบกับนักเรียนเป็นรายบุคคลเพื่อพูดคุยเรื่องงานนำเสนอและแนะนำสิ่งที่ต้องแก้ไข หลังจากที่ผังเค้าโครงเนื้อหาผ่านการเห็นชอบแล้ว ให้นักเรียนเริ่มทำสไลด์ ชี้แนะแนวทางและช่วยนักเรียนหากจำเป็นขณะที่จัดทำงานนำเสนอการนำเสนองานด้วยปากเปล่าหลังจากที่นักเรียนทำงานนำเสนอเสร็จสมบูรณ์แล้ว ให้จับคู่นักเรียน แต่ละคู่ให้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการนำเสนองานด้วยปากเปล่า โดยสลับกันเป็นผู้สัมภาษณ์ และอีกคนหนึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ ให้เวลาหนึ่งหรือสองชั่วโมงในการคิดคำถามสำหรับสัมภาษณ์ และฝึกการนำเสนอ ผู้สัมภาษณ์ (ผู้ช่วยนักเรียน) ถามคำถาม และผู้เชี่ยวชาญ (คนนำเสนอ) โต้ตอบกับคำถามโดยใช้สไลด์เพื่อสนับสนุนประเด็นการพูดคุย จัดสรรเวลาให้นักเรียนนำเสนอโครงงาน อำนวยความสะดวกการอภิปรายภายหลังแต่ละการนำเสนอ อ้างอิงคำถามสร้างพลังคิดอีกครั้ง และให้นักเรียนใช้ข้อมูลที่เพิ่งนำเสนอเพื่อช่วยตอบคำถามต่อไปนี้
ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริงหรือ
เศษส่วนสำคัญใช่หรือไม่ หรือเราจะดีขึ้นถ้าไม่มีเศษส่วน
จะนำเศษส่วนมาใช้ในงานได้อย่างไร และจำเป็นต้องมีเศษส่วนเพื่อให้งานสำเร็จใช่หรือไม่
ความเข้าใจเรื่องเศษส่วนสามารถทำให้ชีวิตของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร
บันทึกการโต้ตอบของนักเรียนลงในแผนภูมิหลังการนำเสนอทั้งหมด ให้ย้อนกลับไปที่แผนภูมิที่ทำเสร็จแล้ว และทำข้อสรุปเรื่องความสำคัญของเศษส่วนการจัดทำ wiki (ทางเลือก)ตลอดหน่วยการเรียนรู้ ให้นักเรียนแก้คำปริศนาประจำวันโดยใช้ชุดเศษส่วน (หรืออื่น ๆ ที่เหมาะสม) ถ้ามีเวลาเพียงพอ ให้นักเรียนคิดปริศนาด้วยตนเองให้เพื่อนแก้คำปริศนา แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย และให้คิดคำปริศนา หลังจากที่แต่ละกลุ่มคิดได้แล้ว ให้จัดทำ wiki ที่มีคำปริศนา แบบฟอร์มการโต้ตอบสำหรับผู้ชมสามารถส่งคำตอบ และท้ายสุดพร้อมคำเฉลยที่อธิบายแนวทางแก้ไขคำปริศนา อนุญาตให้นักเรียนนำคำปริศนาบน wikiไปจัดพิมพ์ และรับฟังความเห็นจากเพื่อนร่วมห้อง พ่อแม่ เพื่อนทางอีเล็คทรอนิคส์ (ePALS) และอื่น ๆ ขยายขอบเขตการเรียนรู้ให้ไกลกว่าห้องเรียนสรุปเปิดการอภิปรายเกี่ยวกับคำถามสร้างพลังคิด ความแม่นยำสำคัญขนาดนั้นจริง ๆ หรือ ให้นักเรียนจับคู่ร่วมคิด (Pair and Share) เพื่อพูดคุยหาคำตอบและความเห็นต่อคำถามสร้างพลังคิดโดยใช้ตัวอย่างจากงานวิจัยและโครงงาน ทำการสลับคู่และให้เวลานักเรียนแลกแลกเปลี่ยนกับเพื่อนคนอื่น ๆ จดบันทึกการสอนขณะที่มีการอภิปราย ทำเป็นลายลักษณ์อักษรความเข้าใจในแนวคิดรวบยอดที่เรียนของนักเรียนตลอดหน่วยการเรียนรู้ ให้นักเรียนบันทึกข้อคิดเห็นและความเห็นลงในบันทึกทางคณิตศาสตร์ (DOC 48KB) ของตนเอง
ทักษะพื้นฐานเดิมของนักเรียน / Prerequisite Skills
ประสบการณ์ในการนำเสนอด้วยอิเล็คทรอนิคส์และซอร์ฟแวร์สิ่งพิมพ์
ประสบการณ์การใช้เว็บเบราว์ซิ่ง
คุ้นเคยกับเศษส่วน
ความรู้พื้นฐานเรื่องหลักการการบวก การลบ การคูณ และการหาร
การดัดแปลงตามสภาพความต้องการที่แตกต่างกันของผู้เรียน / Differentiated Instructionนักเรียนที่ต้องดูแลเป็นพิเศษเตรียมแม่แบบเพิ่มเติม และสื่อสนับสนุนการเรียน นักเรียนที่มีความสามารถเป็นพิเศษ
ให้นักเรียนจัดทำบอร์ดเกมที่สอดคล้องกับคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์และการแก้ปัญหา
ให้นักเรียนจัดทำแบบทดสอบหรือแบบทดสอบย่อยที่เกี่ยวข้องกับเศษส่วนสำหรับห้องเรียน
ผู้เขียนหน่วยการเรียนรู้ / Creditsเดวิด แฟรงเคิล (David Frankle) เข้าร่วมอบรมในโครงการ Intel® Teach

เศษส่วน

วันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2552

ครูในฟินแลนด์

เทวดาน้อย ของ Kainoi
HomeBlogPhotosVideoMusicCalendarReviewsLinks
ครูฟินแลนด์
Sep 5, '08 10:42 PMfor everyone
น่าสนใจว่าทำไมฟินแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศเล็ก มีพลเมืองแค่ 5.2 ล้านคน
มีชนกลุ่มน้อยมากมายหลายกลุ่ม
ทั้งพวกแลปป์ที่อาศัยในเขตแลปแลนด์ ยิว ตาตาร์ ยิปซี ฯลฯ
แต่มีเศรษฐกิจรุดหน้ากว่าหลายชาติ
มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 131.01 พันล้านยูโร
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อคน 25,080 ยูโร พลเมืองน้อย
ทรัพยากรธรรมชาติไม่มาก
รัฐบาลฟินน์มอบการศึกษาแก่ประชาชนคนของตนยังไง
จึงทำให้ฟินแลนด์มีมาตรฐานการครองชีพสูงมากประเทศหนึ่งในยุโรป
ฟินแลนด์มีพลเมืองน้อย แต่คนมีคุณภาพสูง
เป็นเพราะรัฐบาลทุ่มการศึกษาให้ประชาชนอย่างเต็มที่
ฟินแลนด์มีคนเพียงห้าล้านกว่า แต่มี ครู 8 หมื่น
และมีบุคลากรทางการศึกษาอื่นอีก 5.5 หมื่น
ผมได้รับเอกสารงานวิจัยของ ผศ.ดร.สร้อยสน สกลรักษ์ และ
ผศ.ชุติมา พงศ์วรินทร์
เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา : เยอรมนีและฟินแลนด์
เมื่ออ่านจบครบถ้วนกระบวนความแล้วก็จึงถึงบางอ้อว่า
การศึกษาเป็นเครื่องมือที่ยิ่งใหญ่ของทั้งสองประเทศ
ช่วยขับเคลื่อนพัฒนาให้ทั้งเยอรมนี/ ฟินแลนด์ไปยืนแถวหน้าของโลกได้
ฟินแลนด์ลงทุนครู ครูในฟินแลนด์มีหลายพวก
พวกแรกเป็นครูประจำชั้นที่เรียกว่า class teachers
ท่านเหล่านี้สอนชั้นประถม ศึกษา ซึ่งเป็นชั้นที่ 1 ถึง 6
อีกพวกหนึ่งเป็นครูประจำวิชาที่เรียกว่า subject teachers
พวกนี้สอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
(ซึ่งเป็นชั้นที่ 7 ถึง 9) + มัธยมศึกษาตอนปลาย + การศึกษาสำหรับผู้ใหญ่
คนฟินแลนด์ไม่บ้าปริญญามหาวิทยาลัยเหมือนบ้านเรา
นักเรียนจำนวนไม่น้อยไม่เลือกเรียนชั้นมัธยมสายทั่วไป
ซึ่งจะต้องไปเรียนต่อปริญญาในมหาวิทยาลัย
แต่เลือกเรียนอาชีวศึกษา เพื่อออกมาทำงานที่ใช้ฝีมือ/ แรงงาน
มัธยมศึกษาตอนปลายจึงแยกสายสามัญ และสายอาชีวศึกษา
บ้านเราเอาครูจบมหาวิทยาลัยสายอื่นมาสอนในโรงเรียนอาชีวศึกษา
แต่ที่ฟินแลนด์ไม่ใช่ ครูผู้สอนนักเรียนอาชีวศึกษา
ต้องจบมาด้านเดียวกันนี้ด้วย และต้องมีประสบการณ์ทำงานมาก่อน 3 ปี
เมื่อสั่งสมประสบการณ์งานครบแล้ว จึงไปเรียนวิชาชีพครูอีก 1 ปี
ใครจะเป็นครูประจำชั้น ซึ่งก็คือสอนประถมศึกษาชั้น 1 ถึง 6
จะต้องไปเข้าเรียนและฝึกหัดจากคณะศึกษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัย
คณะศึกษาศาสตร์จะมีโรงเรียนสาธิตเป็นของตัวเอง
เพื่อเอาไว้เป็นสถานที่ใช้ฝึกสอน ทดลอง และวิจัยพลเมือง
ฟินแลนด์ร้อยละ 93 เป็นชาวฟินน์ พูดภาษาฟินน์
(คล้าย กับภาษาแมกยาร์ของพวกฮังกาเรียน)
รัฐจึงให้มีคณะศึกษาศาสตร์ที่สอนเป็นภาษาฟินน์
เพื่อผลิตผู้คนให้ออกไปเป็นครูประจำชั้นมากถึง 7 แห่ง
ประชากรอีกร้อยละ 6 เป็นชาวสวีเดน
พวกนี้พูดภาษาสวีเดน ถ้าผู้อ่านท่านไปที่หมู่เกาะโอลันด์
ท่านจะพบว่าผู้คนแถวนั้นพูดภาษาโอลันด์ทั้งนั้น
รัฐบาลจึงให้คณะศึกษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัย 1 แห่ง
สอนการฝึกหัดครูเป็นภาษาสวีเดน
ส่วนคนที่ปรารถนาจะเป็นครูประจำวิชา
ผมหมายถึงท่านที่ปรารถนาจะไปสอนในระดับมัธยมศึกษา
ท่านต้องไปเรียนในคณะที่ท่านจะสอนมาซะก่อน
เช่น ท่านจะสอนวิชาฟิสิกส์ ท่านก็ต้องไปเข้าเรียนในคณะฟิสิกส์ของมหาวิทยาลัย
เมื่อจบปริญญาตรีได้วุฒิการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตทางฟิสิกส์แล้ว
ก็ยังสอนไม่ได้ ท่านต้องไปเรียนต่อในคณะศึกษาศาสตร์ให้ได้ประกาศนียบัตรอีกใบหนึ่ง
หรือจะเรียนทั้งสองอย่างพร้อมกันไปก็ไม่มีใครว่า
จบมาแล้วจึงทำหน้าที่เป็นครูประจำวิชาได้
ผู้ที่อยากมีอาชีพเป็นครูอนุบาลและศูนย์เด็กเล็ก
ท่านต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางภาษาและการสื่อสารวิชาพื้นฐานวิชาครู
และการฝึกสอน การอนุบาลศึกษา และการศึกษาก่อนประถมศึกษา
สำหรับครูที่จะสอนในโรงเรียนอนุบาลระดับพิเศษจะต้องจบปริญญาโท
ตามหลักสูตรที่กำหนดไว้เท่านั้น
เยาวชนคนฟินแลนด์อยากเป็นครู ครูจึงเป็นอาชีพแรกๆที่คนฟินแลนด์
เลือก สาเหตุหนึ่งซึ่งทำให้ฟินแลนด์เจริญเพราะมีการศึกษามีคุณภาพสูง
การศึกษาที่ดีมีคุณภาพของฟินแลนด์มาจากการที่มีครูดี
รัฐบาลฟินแลนด์ทุ่มสุดตัว
ไปที่ครูเขียนเรื่องครูฟินแลนด์แล้วก็ย้อนกลับมาที่
ประเทศไทยรัฐบาลไทยทุ่มให้ครูไทยน้อยเกินไป
จึงไม่ค่อยมีใครอยากเป็นครู
อย่างหนึ่งซึ่งผู้อ่านท่านสังเกตเหมือนผมไหมครับ
บัณฑิตเยาวชนคนไทยยุคใหม่บางส่วน ไม่ค่อยมีความอดทน
ความรู้น้อย และไม่ค่อยได้คุณภาพหลายสถาบัน
ไม่น่าที่จะผลิตมหาบัณฑิต/และดุษฎีบัณฑิตได้ ก็ผลิต